วันเสาร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553

เตรียมสอบ
เตรียมสอบปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
การสอบปลายภาคจะเริ่มขึ้นในวันที่ 16,17,20,21 กันยายน 2553 แล้วดูหนังสือกันมากๆนะ ส่วนรายวิชานี้จะสอบเรื่องกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์ กับ คลื่นแม่เหล้กไฟฟ้า นักเรียนสามารถศึกษาทบทวนได้จาก Blog นี้ ส่วนเว็บไซต์แบบทดสอบ มีดังนี้

กัมมันตรังสีและนิวเคลียร์

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/193/Test/index7.htm

http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/2/test/test9/t1.html

http://203.158.100.100/charud/scibook/nuclearphysics/nuclearchoice/19-3-3.html

http://poolto123.blogspot.com/2009/09/blog-post.html




คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

http://203.158.100.139/CHARUD/scibook/electromagnetic%20wave1/EM%20choice/5-2-2.html


http://school.obec.go.th/science_wp/A_light/test1.htm


http://www.rmutphysics.com/CHARUD/scibook/electromagnetic%20wave1/EM%20choice/5-1-1.html


http://www.rmutphysics.com/charud/entrance/physics2/electromagnetic/index3.html


http://www.rmutphysics.com/charud/entrance/physics2/electromagnetic/index4.html


http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/WeerawanMD/main3.html


http://202.129.0.134/courses/531/51scM5-TPs030501.htm

วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553

ประเมินผลงาน 100 คะแนน

ประเมินผลงาน100คะแนน


ขอให้เพื่อนๆ ครูและผู้มีเกียรติ์ทั้งหลาย เชิญร่วมประเมินผลงาน
โดยมีคะแนนเต็ม100คะแนน ขอขอบคุณทุกท่าน
- เพื่อนประเมินเพื่อนจำนวน5คน

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

กิจกรรม 12-16 ก.ค. สืบค้นข้อมูล ( ไม่ต่ำกว่า 10 เว๊บ )

คลื่นกล (mechanical wave)
คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก ฯลฯ คลื่นพวกนี้สามารถถ่ายทอดพลังงานและโมเมนตัม โดยอาศัยความยืดหยุ่นของตัวกลางถ้าอุณหภูมิคงตัว อัตราเร็วของคลื่นกลจะมีค่าเท่ากันในตัวกลางชนิดเดียวกัน
คลื่นดิน ground wave
เป็นคลื่นวิทยุที่ส่งจากสถานีส่งกระจายเสียงไปถึงเครื่องรับวิทยุโดยตรงในแนวระดับสายตา
ที่มา
- www.sa.ac.th/winyoo/mechanicswave/Index.htm



คลื่นดิน (ground wave)
เป็นคลื่นวิทยุที่ส่งจากสถานีส่งกระจายเสียงไปถึงเครื่องรับวิทยุโดยตรงในแนวระดับสายตา
ที่มา
- www.neutron.rmutphysics.com/physics.../index.php?option...



ธรรมชาติของคลื่น (The nature of a wave)
คลื่นและการเคลื่อนที่คล้ายคลื่น (Waves and wave-like motion)
คลื่นมีอยู่ทุก ๆ ที่ ไม่ว่าเราจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ในชีวิตประจำวันเราได้พบเจอคลื่นต่าง ๆ มากมาย เช่น คลื่นเสียง, คลื่นแสง, คลื่นวิทยุ, คลื่นไมโครเวฟ, คลื่นน้ำ เป็นต้น การศึกษาเรื่องคลื่นทำให้เราสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุบางประเภทที่มีลักษณะคล้ายกับคลื่น เช่น การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มนาฬิกา การเคลื่อนที่ของมวลที่แขวนไว้กับสปริง เป็นต้น
ที่มา
- www.kpsw.ac.th/teacher/piyaporn/page1.htm



คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคลื่นที่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กตั้งฉากกันและเคลื่อนที่ไปยังทิศทางเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 m/s หรือเทียบเท่ากับความเร็วแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic disturbance) โดยการทำให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้
ที่มา
- www.gisthai.org/about-gis/electromagnetic.html



สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น
ที่มา
- https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76376



รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีอินฟราเรด
รังสีอินฟาเรด (infrared rays) รังสีอินฟาเรด มีช่วงความถี่ 10ยกกำลัง11 - 10ยกกำลัง14 Hz หรือ ความยาวคลื่น ตั้งแต่ 10ยกกำลัง-3 - 10ยกกำลัง-6 เมตร ซึ่ง มี ช่วงความถี่ คาบเกี่ยว กับ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด สามารถ ใช้กับฟิล์มถ่ายรูป บางชนิด ได้ และ ใช้ เป็น การควบคุม ระยะไกล หรือ รีโมทคอนโทรล กับ เครื่องรับโทรทัศน์ ได้ รังสีอินฟราเรดบางคนเรียกว่ารังสีความร้อน เพราะสสารที่มีความร้อนจะต้องมีรังสันี้ออกมา ทำให้สามารถสร่างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียตนาม
รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มี ความถี่ช่วง 10ยกกำลัง15 - 10ยกกำลัง18 Hz เป็น รังสี ตาม ธรรมชาติ ส่วนใหญ่ มา จาก การแผ่รังสี ของ ดวงอาทิตย์ ซึ่ง ทำ ให้ เกิด ประจุ อิสระ และไอออน ใน บรรยากาศ ชั้น ไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถ ทำ ให้ เชื้อโรค บาง ชนิด ตาย ได้ แต่ มี อันตราย ต่อ ผิวหนัง และ ตา คน
ที่มา
- http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=anak-nnn&month=03-2007&date=13&group=3&gblog=1



การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เมื่อประจุไฟฟ้า บวกและลบเกิดการสั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก จะทำให้เกิดเส้นแรงไฟฟ้าขึ้นระหว่างประจุทั้งสอง
ที่มา
- www.pt.ac.th/ptweb/prajead/electric/EM_wave/.../emf.htm



คุณสมบัติของเสียง
1. คุณสมบัติของเสียงขับร้องของมนุษย์
ในธรรมชาติเสียงของมนุษย์สามารถปรับระดับเสียงสูง-ต่ำได้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเสียงดนตรี จึงถือว่าเสียงมนุษย์เป็นเสียงดนตรีชนิดหนึ่ง ซึ่งมนุษย์ได้พัฒนาการปรับเสียงสูง-ต่ำ จนกลายเป็นเสียงขับร้องที่ไพเราะได้ โดยเริ่มจากการสวดมนต์ การขอพรจากเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การขับลำนำ การอ่านคำประพันธ์ การขับเสภา ตามลำดับจนเป็นการขับร้องประเภทต่าง ๆ ในที่สุด นอกจากนี้ เสียงของมนุษย์ยังมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งแตกต่างกันไปตามเพศและวัยอีกด้วย เช่น เสียงเด็กและผู้หญิงมักจะเสียงเล็กแหลม เสียงผู้ชายจะมีเสียงทุ้มใหญ่ เป็นต้น
2. คุณสมบัติของเสียงดนตรี
เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีระดับเสียงสูง-ต่ำ เหมือนกับเสียงของมนุษย์ แต่จะเป็นระบบมากกว่า ซึ่งมีพัฒนาการมาจากการขับลำนำ และการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และความเชื่อต่อมามีการพัฒนาเครื่องดนตรีและวิธีการบรรเลงดนตรีได้หลากหลายวิธี ทำให้เสียงดนตรีมีระดับสูง-ต่ำมากขึ้นและมีลักษณะของเสียงเพิ่มขึ้นหลายเสียง
ที่มา
- www.thaigoodview.com/node/18316



การเกิดเสียง
เสียง เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีการสั่นสะเทือนส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบ
ที่มา
- www.thainame.net/project/sound507/Untitled-3.html



เสียงทุ้ม-เสียงแหลม
หูของมนุษย์เรา (รวมถึงสัตว์อื่นๆ) เป็นอวัยวะที่มีความสามารถในตรวจจับคลื่นเสียง โดยส่วนของแก้วหู (Ear Drum) ซึ่งเป็นแผ่นเนื้อเยื่อที่เบาและอ่อนบางมากๆ จะสั่นไหวมาก-น้อยและเร็ว-ช้าตามความผันแปรของความดันอากาศที่เดินทางเข้ามาในช่องหู (Ear Canal)ในกรณีของมนุษย์นั้น หูและระบบประสาทการฟังที่มีสุขภาพและสภาพที่สมบูรณ์จะสามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่จากต่ำสุดที่ 20Hz ขึ้นไปถึงสูงสุดที่ 20,000Hz แต่ก็ไม่ได้หมายถึงว่าความไวในการได้ยินเสียงหรือความรู้สึกได้ในการฟังจะเท่ากันหมดในทุกๆ ย่านความถี่
คำว่าความถี่ (Frequency) นั้นเป็นคุณสมบัติหนึ่งของคลื่น โดยจะหมายถึงจำนวนครั้งของรอบการสั่น (Vibration) ของอนุภาคในตัวกลาง (Medium) ซึ่งก็คือจำนวนครั้งของช่วงคลื่น (ช่วงหนึ่งความยาวคลื่น-Wave Length) ที่เคลื่อนผ่านจุดหนึ่งจุดใดไปในช่วงเวลาหนึ่ง โดยหากวัดจำนวนช่วงคลื่นที่เคลื่อนตัวผ่านไปใน 1 วินาที ก็จะเท่ากับความถี่ของคลื่นในหน่วย Hertz (Hz – เฮิร์ซ) นั่นเอง
ที่มา
- www.kce101.com/forums/index.php?topic=98.0



สรุปสูตรจากสมบัติโดยทั่วไปของเสียงและคลื่นทั่วไป
สิ่งที่ต้องการหา สูตร
ความเร็วเสียงในอุณหภูมิต่าง ๆ Vt= 331+0.6t
ความเร็วเสียง V = fl
ความเร็วเสียง V = s/t
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง S1P- S2P = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง dsinq = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย S1P- S2P = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย dsinq = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย = (n-1/2)l
ความถี่บีตส์ fB= f1-f2
ความเข้มเสียง(I) I=W/At = P/A = P/4pR2
ที่มา
- www.yimwhan.com/board/show.php?user...topic=10...

วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553

กิจกรรม 5-9 ก.ค. 53 รวม 90 คะแนน

คลื่น

-ชนิดของคลื่น
-ส่วนประกอบของคลื่น
-สมบัติของคลื่น
-ปรากฏการ คลื่น
-การสะท้อน
-การหักเห
-การเลี้ยวเบน
-การแทรกสอด
-คลื่นในเส้นเชือกที่ปลายตรึงไว้

ที่มา

- http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/wave/wave.htm

- http://www.icphysics.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=54

- http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/sonic.htm

- http://th.wikipedia.org/wiki/%C3%80%C2%B8%E2%80%9E%C3%A0%C2%B8%C2%A5%C3%A0%C2%B8%C2%B7%C3%A0%C2%B9%CB%86%C3%A0%C2%B8%E2%84%A2

- http://www.walter-fendt.de/ph14th/interference_th.htm

- http://thaigoodview.com/node/28923

- http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&category=110&id=5119

- http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/wave1/wave_1.htm




คลื่นเสียง


-การสั่นและคลื่นเสียง

-เสียง

-แหล่งกำเนิดเสียง

-คุณลักษณะของเสียง

ที่มา

- http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/oraphin001/index.html

- http://www.mwit.ac.th/~ampornke/Documents_PPT/PPT_Waves/08_3The%20Nature%20and%20Properties%20of%20sound1.pdf

- http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/sound/html/useful.htm

- http://www.aboatmagazine.com/detail.php?id_detail=NL00000012&type=6

- http://school.obec.go.th/sridonchai/Webstu/ProjectWave/Deteil/page33.htm




แสง


-การสะท้อนของแสง

มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ

ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ

ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง

-การหักเหของแสง

การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทั้ง

สองไม่เท่ากัน

-มุมวิกฤต

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห

เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก

กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่

มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย

-การแทรกสอดของคลื่นแสง

-ความสว่างของแสง

ที่มา
- http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/fddi/fddi.html

- http://physicsforth.spaces.live.com/blog/cns!653E82EA9340DFA3!2151.entry

- http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/laser.html

- http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?select=1&q=%A1%D2%C3%E3%AA%E9%BB%C3%D0%E2%C2%AA%B9%EC%C3%D1%A7%CA%D5%E0%CD%A1%AB%EC

- http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/lightspeed/lightspeed.html

วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2553

o-net ปี 52



สมบัติของคลื่น

1การสะท้อนของคลื่น Reflection
เมื่อคลื่นเคลี่ยนที่ไปชนกับสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไปยังปลายสุดของตัวกลาง หรือระหว่างรอยต่อของตัวกลาง คลื่นส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่กลับมาในตัวกลางเดิม เรียกว่า การสะท้อนของคลื่น และคลื่นที่สะท้อนกลับมา เรียกว่า คลื่นสะท้อน ส่วนคลื่นที่ไปกระทบปลายสุดของตัวกลางก่อนเกิดการสะท้อนเรียกว่า คลื่นตกกระทบ

2การหักเหของคลื่น(Refraction)
เมื่อให้คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง เช่น คลื่นน้ำลึกเคลื่อนที่จากน้ำลึกเข้าสู่บริเวณน้ำตื้น จะทำให้ความยาวคลื่นของคลื่นน้ำจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย การที่คลื่นน้ำเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่งแล้วทำให้อัตรา เร็วและความยาวคลื่นเปลี่ยนไปแต่ความถี่คงที่ เรียกว่า "การหักเหของคลื่น" และคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านรอยต่อ ระหว่างตัวกลางไปเรียกว่า "คลื่นหักเห"
ในการหักเหของคลื่นจากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง จะทำให้ความเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไป แต่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอาจจะไม่เปลี่ยน หรือเปลี่ยนไปจากแนวเดิมก็ได้

3การแทรกสอดของคลื่น(Interference)
เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีความถี่เท่ากันและเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวนนั้น ปรากฎการณ์เช่นนี้เรียกว่า การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

1.การแทรกสอดแบบเสริมกัน เกิดจากสันคลื่นของคลื่นทั้งสองมารวมกัน คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะมีวันคลื่นสูงกว่าเดิม และมีท้องคลื่นลึกกว่าเดิม และจะเรียกตำแหน่งนั้นว่า ปฏิบัพ(Antinode)

2.การแทรกสอดแบบหักล้าง เกิดจากสันคลื่นจากแหล่งกำเนิดหนึ่งมารวมกับท้องคลื่นของ อีกแหล่งกำเนิดหนึ่ง คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมีสันคลื่นต่ำกว่าเดิม และท้องคลื่นตื้นกว่าเดิม และเรียกตำแหน่งนั้นว่า บัพ(Node)
4การเลี้ยวเบนของคลื่น
เมื่อมีสิ่งกีดขวางมากั้นการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นจะเกิดการสะท้อน แต่ถ้าสิ่งกีดขวางนั้นกั้นการเคลื่อนที่ ของคลื่นเพียงบางส่วน จะพบว่ามีคลื่นส่วนหนึ่งแผ่จากขอบสิ่งกีดขวางไปทางด้านหลังของสิ่งกีดขวางนั้น การที่มีคลื่นปรากฎอยู่ทางด้านหลังของแผ่นกั้นคลื่นในบริเวณนอกทิศทางเดิมของคลื่นเช่นนี้เรียกว่า การเลี้ยวเบนของคลื่น

ในการอธิบายการเลี้ยงเบนของคลื่นต้องใช้ หลักการของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวไว้ว่า
"แต่ละจุดบนหน้าคลื่นสามารถถือได้ว่าเป็นแหล่งกำเนิดของคลื่นใหม่ที่ให้กำเนิดคลื่น ซึ่งเคลื่อนที่ออกไปทุกทิศทุกทางด้วย
อัตราเร็วเท่ากับ อัตราเร็วของคลื่นเดิมนั้น"


สูตร อัตราเร็วคลื่น

v = = f =

v - ความเร็วคลื่น หน่วยเป็น m / s

s - ระยะทาง หน่วยเป็น m

t - เวลา หน่วยเป็น s

f - ความถี่ หน่วยเป็น s-1

- ความยาว หน่วยเป็น m



สูตร การหาจำนวนลูกคลื่นที่ผ่านจุดหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลา

f =

T - เวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ

f - ความถี่





การหักเหของคลื่น(Refraction)
เมื่อให้คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง เช่น คลื่นน้ำลึกเคลื่อนที่จากน้ำลึกเข้าสู่บริเวณน้ำตื้น จะทำให้ความยาวคลื่นของคลื่นน้ำจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย การที่คลื่นน้ำเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่งแล้วทำให้อัตรา เร็วและความยาวคลื่นเปลี่ยนไปแต่ความถี่คงที่ เรียกว่า "การหักเหของคลื่น" และคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านรอยต่อ ระหว่างตัวกลางไปเรียกว่า "คลื่นหักเห"
ในการหักเหของคลื่นจากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง จะทำให้ความเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไป แต่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอาจจะไม่เปลี่ยน หรือเปลี่ยนไปจากแนวเดิมก็ได้





สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

1. ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่

2. อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ 299,792,458 m/s ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง

3. เป็นคลื่นตามขวาง

4. ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง

5. ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร

6. ไม่มีประจุไฟฟ้า

7. คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห และเลี้ยวเบนได้







คลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ

1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation)

ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า "คลื่นพาหะ" โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง

ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและคลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ

1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation)

ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง

ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ

วันพฤหัสบดีที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ข้อสอบปี 52


อธิบาย การสะท้อนของคลื่น Reflectionเมื่อคลื่นเคลี่ยนที่ไปชนกับสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไปยังปลายสุดของตัวกลาง หรือระหว่างรอยต่อของตัวกลาง คลื่นส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่กลับมาในตัวกลางเดิม เรียกว่า การสะท้อนของคลื่น และคลื่นที่สะท้อนกลับมา เรียกว่า คลื่นสะท้อน ส่วนคลื่นที่ไปกระทบปลายสุดของตัวกลางก่อนเกิดการสะท้อนเรียกว่า คลื่นตกกระทบ
การหักเหของคลื่น(Refraction)เมื่อให้คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง เช่น คลื่นน้ำลึกเคลื่อนที่จากน้ำลึกเข้าสู่บริเวณน้ำตื้น จะทำให้ความยาวคลื่นของคลื่นน้ำจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย การที่คลื่นน้ำเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่งแล้วทำให้อัตรา เร็วและความยาวคลื่นเปลี่ยนไปแต่ความถี่คงที่ เรียกว่า "การหักเหของคลื่น" และคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านรอยต่อ ระหว่างตัวกลางไปเรียกว่า "คลื่นหักเห"
ในการหักเหของคลื่นจากตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง จะทำให้ความเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไป แต่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอาจจะไม่เปลี่ยน หรือเปลี่ยนไปจากแนวเดิมก็ได้
การแทรกสอดของคลื่น(Interference)เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีความถี่เท่ากันและเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวนนั้น ปรากฎการณ์เช่นนี้เรียกว่า การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

1.การแทรกสอดแบบเสริมกัน เกิดจากสันคลื่นของคลื่นทั้งสองมารวมกัน คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะมีวันคลื่นสูงกว่าเดิม และมีท้องคลื่นลึกกว่าเดิม และจะเรียกตำแหน่งนั้นว่า ปฏิบัพ(Antinode)

2.การแทรกสอดแบบหักล้าง เกิดจากสันคลื่นจากแหล่งกำเนิดหนึ่งมารวมกับท้องคลื่นของ อีกแหล่งกำเนิดหนึ่ง คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมีสันคลื่นต่ำกว่าเดิม และท้องคลื่นตื้นกว่าเดิม และเรียกตำแหน่งนั้นว่า บัพ(Node)
การเลี้ยวเบนของคลื่น เมื่อมีสิ่งกีดขวางมากั้นการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นจะเกิดการสะท้อน แต่ถ้าสิ่งกีดขวางนั้นกั้นการเคลื่อนที่ ของคลื่นเพียงบางส่วน จะพบว่ามีคลื่นส่วนหนึ่งแผ่จากขอบสิ่งกีดขวางไปทางด้านหลังของสิ่งกีดขวางนั้น การที่มีคลื่นปรากฎอยู่ทางด้านหลังของแผ่นกั้นคลื่นในบริเวณนอกทิศทางเดิมของคลื่นเช่นนี้เรียกว่า การเลี้ยวเบนของคลื่น
ที่มา : http://www.skn.ac.th/skl/skn42/phy67/function.htm